Monday, January 26, 2015
Sunday, January 25, 2015
CentOS 6.6: ติดตั้ง CentOS 6.6 Server แบบText Mode ใน Virtualbox
ติดตั้ง CentOS 6.6 Server แบบText Mode
1. ดาวน์โหลดไฟล์ ติดตั้ง จาก Mirror Server ในไทย
1.1 http://mirrors.bangmodhosting.com/centos/6.6/isos/
1.2 http://mirrors.psu.ac.th/pub/centos/6.6/isos/
1.3 http://mirrors.bestthaihost.com/centos/6.6/isos/
1.4 http://mirror1.ku.ac.th/centos/6.6/isos/
1.5 http://mirrors.hosting.in.th/centos/6.6/isos/
1.6 http://mirrors.thzhost.com/centos/6.6/isos/
ผมเลือก link ในสุดท้าย โดยเฉลี่ย เร็วกว่า link อื่น (ณ. เวลาทดสอบ)
ปรากฏ Folder ให้เลือกว่าต้องการ 32 bit (i386) หรือ 64 bit (x86_64)
ผมเลือก 32 bit สำหรับ มาทดสอบ เนื่องจากระบบปฏิบัติการที่ติดตั้งใน เครื่องเป็น 32 bit
ปรากฏ File ให้เลือกใหลายแบบ ในที่นี้จะเลือก
เพราะมีขนาดเล็ก (339.0M) โหลดเร็ว (ไม่มีกราฟฟิค ไม่มี package ต่างๆ แต่จะต้องติดตั้งจาก
internet เองถ้าต้องการ)
ในการทดสอบติดตั้งนี้จะ ทำใน Oracle Virtual Box จะได้ไม่เปลืองเครื่อง Hardware จริง
(สำหรับการสร้างระบบปฏิบัติการใหม่ ใน Virtualbox หาอ่านได้ ในบทความก่อนหน้านี้ )
1. เริ่มเปิดเครื่อง ตัวติดตั่งจะให้ตรวจสอบว่าแผ่นติดตั้งใช้งานได้หรือไม่ ถ้าเคยตรวจสอบแล้ว
สามารถเลือก Skip ได้เลย (กดปุ่ม TAB หรือ ลูกศรเลือก)
2. ปรากฏเมนู ให้เลือกรายการบรรทัดที่สอง Install system with basic video driver
จะเป็นการติดตั้งแบบ Text Mode
2.1 ใช้ ลูกศร เลือกลำดับที่สอง
2.2 กดปุ่ม TAB เพื่อแก้ไข การทำงาน
2.3 ปรากฏ ข้อความ vmlinuz initrd= initrd.img xdriver=vesa nomodeset
ให้พิมพ์คำว่า text ต่อท้าย และ กด Enter เพื่อ ตกลง
3) เข้าสู่การติดตั้งจะปรากฏข้อความ Welcome to CentOS !
และแสดงปุ่ม คำสั่ง ที่ใช้ในระว่างการติดตั้งที่บรรทัดด้านล่างของจอ
3.1) กด enter เพื่อ ตกลง
3.2) บางครั้งการติดตั้งใน Virtualbox อาจมีคำเตือนแจ้งให้ แก้ไขค่า config
(สาเหตุ เนื่องจาก มีการโยกย้ายปรับแต่งไปมา หรือ ว่าซนไปหน่อย)
4) กำหนด Time Zone ของประเทศที่ Server ตั้งอยู่
เลือก
System clock uses UTC
Asia/Bangkok
5) กำหนด Password สำหรับผู้ดูแลระบบทั้งหมด (Super user)
5.1) กำหนด Password
5.2) ถ้า Password ไม่แข็งแรง(Weak) จะปรากฏคำเตือน
ถ้าต้องการยืนยันว่าจะใช้ เลือก Use Anyway
6) กำหนด ภาษาที่ใช้งาน
เลือก ภาษาอังกฤษ เนื่องจากทำเป็น Server
7) กำหนด พื้นที่ติดตั้ง
8) ตัวติดตั้งจะ เริ่มทำงาน ประมาณ 15-30 นาทีแล้วแต่เครื่อง
เมื่อติดตั้งเสร็จจะปรากฏหน้าจอด้านล่าง
ให้อ่านข้อความเตือน และกด Enter เพื่อยืนยัน
9) เมื่อระบบพร้อมทำงาน จะปรากฏหน้าจอให้ login
9.1) login ด้วย user root
9.2) ป้อน Password
9.3) Login สำเร็จจะปรากฏ เครื่องหมาย Prompt #
(เครื่องหมาย Prompt เป็น # แสดงว่า login เป็น super user)
Friday, January 23, 2015
Ubuntu: เรื่องของ Hostname
โฮสเนม(host name) จะถูกกำหนดเมื่อเริ่มต้นระบบ(System startup) โดยไฟล์ /etc/init.d/hostname.sh (ซึ่งจะไปอ่านเนื้อหาในไฟล์ /etc/hostname ซึ่งเก็บชื่อ ้host name )FQDN (Fully Qualified Domain Name) of the system is the name that the resolver(3) returns for the host name, such as, ursula.example.com. It is usually the hostname followed by the DNS domain name (the part after the first dot). You can check the FQDN using hostname --fqdn or the domain name using dnsdomainname. You cannot change the FQDN with hostname or dnsdomainname. The recommended method of setting the FQDN is to make the hostname be an alias for the fully qualified name using /etc/hosts, DNS, or NIS. For example, if the hostname was "ursula", one might have a line in /etc/hosts which reads 127.0.1.1 ursula.example.com ursula Technically: The FQDN is the name getaddrinfo(3) returns for the host name returned by gethostname(2). The DNS domain name is the part after the first dot. Therefore it depends on the configuration of the resolver (usually in /etc/host.conf) how you can change it. Usually the hosts file is parsed before DNS or NIS, so it is most common to change the FQDN in /etc/hosts. If a machine has multiple network interfaces/addresses or is used in a mobile environment, then it may either have multiple FQDNs/domain names or none at all. Therefore avoid using hostname --fqdn, hostname --domain and dnsdomainname. hostname --ip-address is subject to the same limitations so it should be avoided as well.
Wednesday, January 14, 2015
Ubuntu: ดาวน์โหลด จาก Mirror ใน Thai
มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ http://mirror1.ku.ac.th/ubuntu-releases/
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี http://ubuntu-releases.sit.kmutt.ac.th/
Tuesday, January 13, 2015
Ubuntu: ขั้นตอนการติดตั้ง phpmyadmin ใน Ubuntu 12.04 Server
การติดตั้ง phpmyadmin
1. login เข้าสู่ utuntu command line
2. พิมพ์คำสั่ง ต่อจาก command prompt $
$ sudo apt-get install phpmyadmin
1. login เข้าสู่ utuntu command line
2. พิมพ์คำสั่ง ต่อจาก command prompt $
$ sudo apt-get install phpmyadmin
3. ระหว่างติดตั้ง ตัวติดตั้งจะถามว่า ต้องการตั้งค่าฐานข้อมูลสำหรับ phpmyadmin หรือไม่ ?
ตอบ yes
4. ป้อน password ของ MySQL (Root user)
5. ป้อน password ของ MySQL (Root user) อีกครั้งเพื่อยืนยัน
กำหนด phpmyadmin ให้ทำงานร่วมกับ Apache2 web server
1. แก้ไขไฟล์คอนฟิก apache2.conf
$ sudo nano /etc/apache2/apache2.conf
[sudo] password:
เพิ่มข้อมูล
Include /etc/phpmyadmin/apache.conf
เพิ่มที่ (ประมาณบรรทัดที่ 215 )ใต้บรรทัด
# Include all the user configurations:
Include httpd.conf
ดังรูป
1. แก้ไขไฟล์คอนฟิก apache2.conf
$ sudo nano /etc/apache2/apache2.conf
[sudo] password:
เพิ่มข้อมูล
Include /etc/phpmyadmin/apache.conf
เพิ่มที่ (ประมาณบรรทัดที่ 215 )ใต้บรรทัด
# Include all the user configurations:
Include httpd.conf
ดังรูป
2. สั่ง restart apache2 service
$ sudo /etc/init.d/apache2 restart
* Restarting web server apache2
[Sun Feb 16 12:12:39 2014] [warn] The Alias directive in /etc/apache2/conf.d/phpmyadmin.conf at line 3 will probably never match because it overlaps an earlier Alias.
apache2: Could not reliably determine the server's fully qualified domain name, using 127.0.1.1 for ServerName
... waiting [Sun Feb 16 12:12:40 2014] [warn] The Alias directive in /etc/apache2/conf.d/phpmyadmin.conf at line 3 will probably never match because it overlaps an earlier Alias.
apache2: Could not reliably determine the server's fully qualified domain name, using 127.0.1.1 for ServerName
...done.
$ sudo /etc/init.d/apache2 restart
* Restarting web server apache2
[Sun Feb 16 12:12:39 2014] [warn] The Alias directive in /etc/apache2/conf.d/phpmyadmin.conf at line 3 will probably never match because it overlaps an earlier Alias.
apache2: Could not reliably determine the server's fully qualified domain name, using 127.0.1.1 for ServerName
... waiting [Sun Feb 16 12:12:40 2014] [warn] The Alias directive in /etc/apache2/conf.d/phpmyadmin.conf at line 3 will probably never match because it overlaps an earlier Alias.
apache2: Could not reliably determine the server's fully qualified domain name, using 127.0.1.1 for ServerName
...done.
Ubuntu: วิธีติดตั้ง packages จาก ubuntu CD หรือ iso ไฟล์
Installing packages from ubuntu CD
จะติดตั้ง packages (lamp, ssh, ftp, dhcp, samba) ต่างๆจาก CD ได้อย่างไรโดยไม่มี internet connection ?
สามารถทำตามวิธีในลิ้งค์นี้
https://help.ubuntu.com/community/InstallingSoftware#Installing_packages_without_an_Internet_connection
---- SOLVED ----
รายการของแหล่งเก็บแพคเก็จต่างๆ(list of sources) สำหรับโปรแกรมช่วยติดตั้ง (apt) ที่จะใช้อ้างถึงอยู่ใน บรรทัดแรกคือ cd, ให้ uncomment โดยลบเครื่องหมาย # (hash) ข้างหน้า. โดยอาจใช้โปรแกรม nano แก้ไข (edit) เช่น:
Enter the password (ถ้าปรากฏ prompt)
และให้, คอมเมนท์ออก(comment away) สำหรับ internet sources อื่่นๆ โดยเพิ่มเครื่องหมาย # (hash) นำหน้า หลังจากนั้นให้ save the file by pressing
จะติดตั้ง packages (lamp, ssh, ftp, dhcp, samba) ต่างๆจาก CD ได้อย่างไรโดยไม่มี internet connection ?
สามารถทำตามวิธีในลิ้งค์นี้
https://help.ubuntu.com/community/InstallingSoftware#Installing_packages_without_an_Internet_connection
---- SOLVED ----
รายการของแหล่งเก็บแพคเก็จต่างๆ(list of sources) สำหรับโปรแกรมช่วยติดตั้ง (apt) ที่จะใช้อ้างถึงอยู่ใน บรรทัดแรกคือ cd, ให้ uncomment โดยลบเครื่องหมาย # (hash) ข้างหน้า. โดยอาจใช้โปรแกรม nano แก้ไข (edit) เช่น:
$ sudo nano /etc/api/sources.list
Enter the password (ถ้าปรากฏ prompt)
และให้, คอมเมนท์ออก(comment away) สำหรับ internet sources อื่่นๆ โดยเพิ่มเครื่องหมาย # (hash) นำหน้า หลังจากนั้นให้ save the file by pressing
ctrl+o
, และดำเนินการติดตั้งตามปกติต่อไป.Virtualbox : Forward port จาก Window ไป Ubuntu
กรณี ติดตั้ง Guest OS ใน Virtualbox ที่มี Host OS เป็น Window
เพื่อให้สามารถติดต่อ กับ Service ใน Guest OS ได้ จะต้องการการ Forward port จาก Host OS (Window) ไป Guest OS (Ubuntu)
ตัวอย่างการ Forward Port ของ service ต่อไปนี้
บริการรับส่งข้อมูลแบบ FTP (ชนิด Protocol สื่อสารแบบ TCP, Port 21)
บริการรับส่งข้อมูลแบบ FTP (ชนิด Protocol สื่อสารแบบ TCP, Port 21)
บริการ web รับส่งข้อมูลแบบ HTTP (ชนิด Protocol สื่อสารแบบ TCP, Port 80)
บริการฐานข้อมูล MySQL (ชนิด Protocol สื่อสารแบบ TCP, Port 3306)
บริการรับส่งข้อมูลเข้ารหัสแบบ SSH (ชนิด Protocol สื่อสารแบบ TCP, Port 22)
Subscribe to:
Posts (Atom)